“ดีแทค” เผย “เกมออนไลน์” เสี่ยงเด็กถูกกลั่นแกล้ง
·
ปัญหากลั่นแกล้งทางออนไลน์เป็ นประเด็นสำคัญของครอบครัวเอเชีย
·
เด็กเป็นเป้าหมายหลักในการคุ กคามทางไซเบอร์มากขึ้นทั้ งการเหยียดชาติพันธุ์ เพศ และความรุนแรงทางภาษา
“ดีแทค” จับมือ “เทเลนอร์กรุ๊ป” เผยเด็กเล่นเกมออนไลน์เสี่ ยงหนักถูกกลั่นแกล้งทางออนไลน์
กว่าครึ่งเปิดเผยข้อมูลส่วนตั วแก่คนแปลกหน้า ชี้การสร้างเกราะภูมิคุ้มกั นสำคัญที่สุด พร้อมเดินหน้าโครงการ Safe Internet ต่อเนื่อง
7 กุมภาพันธ์ 2560
- นางไซแนบ ฮูสเซน ซิดดิคี ผู้อำนวยการฝ่ายรับผิดชอบต่อสั งคม เทเลนอร์กรุ๊ป กล่าวว่า ดีแทคและเทเลนอร์กรุ๊ป ได้จัดทำสำรวจในหัวข้อ สถานการณ์และการรับรู้ต่อปั ญหาการกลั่นแกล้งทางโลกออนไลน์ ของพ่อแม่ในภูมิภาคเอเชีย
เนื่องในวันแห่งการใช้อินเทอร์ เน็ตอย่างปลอดภัย (Safer Internet Day) โดยสำรวจผ่านผู้ ตอบแบบสอบถามอายุระหว่าง 18-64 ปี ทางเฟซบุ๊กจำนวน 320 รายในประเท ศบังกลาเทศ
อินเดีย มาเลเซีย เมียนมาร์ ปากีสถาน สิงคโปร์ ประเทศไทยและอื่นๆ
จากผลการสำรวจพบว่า 46% ของผู้ ตอบแบบสอบถามระบุว่า
ผู้ปกครองมีการพูดคุยต่อปั ญหาการกลั่นแกล้งทางโลกออนไลน์ ตลอดเวลา ตามด้วย 39% พูดคุยเพียงบางครั้ งเท่านั้น ขณะที่ 12% ไม่เคยมีการพูดคุ ยเลยแม้แต่ครั้งเดียว จากตัวเลขดังกล่าว ถือเป็นนัยยะที่ดีต่อการรับรู้ และตระหนึกถึงปัญหาความปลอดภั ยทางโลกออนไลน์ต่อเยาวชน
นอกจากนี้ ยังพบว่าลักษณะการกลั่นแกล้ งทางโลกออนไลน์ที่พบได้บ่อยจะมี ลักษณะการปฏิสัมพันธ์อย่างไม่ เป็นมิตร การแสดงความคิดเห็นอย่างหยาบคาย
ตลอดจนการดูหมิ่นว่าร้าย โดยผู้ตอบแบบสอบถามจำนวน 22% ตร ะหนักได้ว่าลักษณะดังกล่าวเป็ นลักษณะของการกลั่นแกล้ งทางออนไลน์ ขณะที่21% ไม่ได้ตระหนักรู้ การกระทำข้างต้นเป็นลักษณะหนึ่ งของการกลั่นแกล้งทางโลกออนไลน์
อย่างไรก็ตาม พบว่าอีก 19% กล่าวว่า เด็กๆ ไม่เผชิญปัญหาถูกกลั่นแกล้ งบนโลกออนไลน์ เนื่องจากมีภูมิคุ้มกั นในการปกป้องและตอบโต้ตั วเองจากโลกออนไลน์ จากตัวเลขดังกล่าวสะท้อนได้ว่า เด็กในเอเชียกำลังเรียนรู้และมี ภูมิคุ้มกันเพิ่มขึ้นต่อปั ญหาการกลั่นแกล้งทางโลกออนไลน์
อย่างไรก็ตาม เด็กจำนวน 29% ระบุว่าการถูกกลั่ นแกล้งทางโลกออนไลน์ทำให้เกิ ดความหดหู่ใจไปชั่วระยะเวลาหนึ่ ง
ในทางกลับกัน 24% ของผู้ ตอบแบบสอบถามระบุว่า เหตุการณ์ที่เกิดจากการกลั่ นแกล้งทางโลกออนไลน์กลับทำให้ เด็กมีความตื่นตัวและเรียนรู้ที่ จะป้องกันตัวเองจากโลกออนไลน์ ขณะที่อีก 24% ระบุ ดูเหมือนว่าเด็กๆ ไม่เคยเผชิญสถานการณ์ดังกล่าว
นอกจากนี้ 7% ระบุว่าการกลั่ นแกล้งทางโลกออนไลน์กลับสร้ างแรงบันดาลใจให้เด็กมีความคิ ดที่จะช่วยเหลือเหยื่อจากปั ญหาดังกล่าว
ทั้งนี้ จากผลการสำรวจยังพบอีกว่า เด็กที่เล่นเกมออนไลน์มีความเสี่ ยงที่จะเกิดการกลั่นแกล้งสูงกว่ าการการเข้าเว็บไซต์ปกติ
โดย 79% ของผู้ ตอบแบบสอบถามตระหนักรู้ว่าเด็กๆ ของพวกเขากำลังถูกคุกคามและเป็ นอันตรายต่อร่างกายในขณะเล่ นเกมออนไลน์ โดยเฉพาะอย่างยิ่งผ่านเว็บไซต์ และโซเชียลมีเดีย
ขณะที่ 49% ระบุว่าเด็กๆ เป็นเป้าหมายจากคอมเม้นที่ก้ าวร้าวรุนแรง ไม่ว่าเป็นการเรียกชื่อ การเหยียดทางชาติพันธุ์และเพศ
จากปัญหาการกลั่นแกล้ งทางโลกออนไลน์ที่รุนแรงขึ้ นและมาในหลากหลายรูปแบบ สิ่งที่สำคัญที่สุดคือการตระหนั กรู้ในการเข้าถึงเว็บไซต์ และเครือข่ายสังคมออนไลน์ที่ ปลอดภัย
ตามด้วยการให้ความรู้ที่ถูกต้ องเกี่ยวกับการแชร์ข้อมูลส่วนตั วผ่านโลกออนไลน์
ปัญหาการกลั่นแกล้ งทางโลกออนไลน์ได้สร้างความห่ วงใยของผู้ใหญ่ที่มีต่อเด็ก อย่างไรก็ตาม สิ่งสำคัญที่ต้องแก้ไขอย่างเร่ งด่วนคือ
การให้การศึกษาและเกราะคุ้มกั นต่อการเข้าถึงแหล่งที่เป็นบ่ อเกิดจากปัญหาการคุ กคามทางโลกออนไลน์ ซึ่งจากผลสำรวจระบุว่า เด็กๆ จำนวน 55% เคยให้ข้อมูลส่วนตั วแก่คนแปลกหน้าบนโลกออนไลน์
ขณะที่ 51% เคยเข้าเว็บไซต์ที่ เด็กไม่สมควรเข้าไปดู
อย่างไรก็ตาม แม้ว่าแพลทฟอร์มของโซเชียลมีเดี ยและการหลอกลวงทางโลกออนไลน์ จะเพิ่มจำนวนขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่สิ่งที่น่าสนใจคือ
เด็กๆ ต่างตระหนักรู้ว่า พวกเขากำลังถูกแฮกข้อมูลส่วนตัว ภาพหรือวีดีโอที่ปรากฏบนโซเชี ยลมีเดียและอีเมล
“เราเชื่อว่าอินเทอร์เน็ตควรเป็ นสถานที่ที่ปลอดภัยสำหรั บประชากรดิจิทัลในการเรียนรู้ และเติบโต โดยเฉพาะอย่างยิ่งเด็กและเยาวชน
ทั้งนี้ เทเลเนอร์กรุ๊ปในฐานะผู้ให้บริ การดิจิทัลได้แสดงความรับผิ ดชอบและให้พันธกิจในการให้ ความรู้ต่อเด็ กและเยาวชนในการปกป้องตั วเองและช่วยเหลือผู้อื่นต่ อการกลั่นแกล้งทางออนไลน์” นางซิ ดดิคี กล่าว
ทั้งนี้ วันแห่งการใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย (Safer
Internet Day) ถือกำเนิดขึ้นในปี 2004 ที่