ดีแทคและเทส-แอม จับมือจัดการขยะอิเล็กทรอนิกส์อย่างเป็นระบบ เสริมกลไกรัฐในการบริหารจัดการมลพิษ
25
พฤศจิกายน 2559
–
บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน)
หรือดีแทค ร่วมมือกับบริษัท ทีอีเอส.เอเอ็มเอ็ม (ประเทศไทย) จำกัด
หรือเทส-แอม เดินหน้าโครงการ
Think Smart รณรงค์ให้ประชาชนคัดแยกขยะอิเล็ กทรอนิกส์ นำโทรศัพท์มือถือ แบตเตอรี่เสื่อมสภาพ และอุปกรณ์เสริม เช่น หูฟังหรืออะแดปเตอร์ มาทิ้งที่กล่องรับซึ่งดีแทคจั ดเตรียมไว้ โดยดีแทคจะรวบรวมและจัดส่งให้ เทส-แอม ไปกำจัดหรือรีไซเคิลอย่างถูกวิ ธีและปลอดภัย
ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์มลพิ ษของประเทศไทย ปี
2558
จัดทำโดยกรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมระบุว่า ของเสียอันตรายชุมชนเกิดขึ้ นจำนวน
591,127 ตัน แบ่งเป็น ซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้ าและอิเล็กทรอนิกส์ (Waste from Electrical and Electronic Equipment: WEEE)
384,233 ตัน (ร้อยละ 65) และของเสียอันตรายประเภทอื่นๆ จากชุมชน เช่น แบตเตอรี่ หลอดไฟ ภาชนะบรรจุสารเคมี อีก 206,894 ตัน (ร้อยละ 35) สำหรับการจัดการของเสียอั นตรายชุมชน มีการส่งเสริมให้จังหวัดหาพื้ นที่เพื่อเป็นศูนย์รวบรวมของเสี ยอันตรายชุมชน
คัดแยก เก็บรวบรวม และส่งไปกำจัดในสถานที่กำจัดอย่ างถูกต้อง โดยในปี 2558 มีศูนย์รวบรวมของเสียอันตรายชุ มชนของจังหวัด 83 แห่ง สามารถเก็บรวบรวมของเสียอั นตรายชุมชนได้ 42 แห่ง รวม 250 ตัน และส่งไปกำจัดแล้ว 174 ตัน
ปริมาณ
WEEE
ที่เกิดขึ้น ส่วนใหญ่มาจากบ้านเรือนทั่วไป ประชาชนกว่าร้อยละ 50 ขาย WEEE
เมื่อไม่ใช้แล้ว ที่เหลือเก็บรวบรวมไว้ทิ้งปนกั บขยะมูลฝอยทั่วไปและให้ผู้อื่น การขาย
WEEE นี้ รวมไปถึงการแลกคืนเพื่อใช้เป็ นส่วนลดในการซื้อผลิตภัณฑ์ใหม่ ด้วยแม้ว่ายังมีจำนวนน้อย ปัญหาสำคัญที่เกิดขึ้นคือ การทิ้งปะปนและการจัดการ WEEE
โดยผู้รับซื้ออย่างไม่ปลอดภัยต่ อสุขภาพอนามัยและสิ่งแวดล้อม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมได้กำหนดโรดแมพเพื่ อลดผลกระทบจากปัญหาการจั ดการขยะมูลฝอยและของเสียอั นตรายได้อย่างยั่งยืน
ผลักดันให้ทุกหน่วยงานที่เกี่ ยวข้องขับเคลื่อนการดำเนิ นงานตามแผนแม่บทบริหารจั ดการขยะมูลฝอย (พ.ศ.2559 – 2564) พร้อมมุ่งส่งเสริมภาคเอกชนที่ ดำเนินงานระบบเก็บรวบรวม
ขนส่ง และกำจัดของเสียอันตราย โดยดีแทค เป็นผู้นำร่องเรื่องการรณรงค์ ให้ผู้ใช้โทรศัพท์มือถือคั ดแยกขยะ ไม่ทิ้งอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เสื่อมสภาพซึ่งถือเป็นของเสียอั นตรายปนกับขยะทั่วไป เพื่อช่วยลดรอยเท้าคาร์บอน (Carbon Footprint)
ซึ่งจะส่งผลให้เกิดมลพิษต่ อระบบนิเวศและมนุษย์
นางอรอุมา ฤกษ์พัฒนาพิพัฒน์ ผู้อำนวยการอาวุโส สายงานสื่อสารองค์กรและการพั ฒนาอย่างยั่งยืน บมจ.โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น
หรือดีแทค กล่าวว่า “ปัจจุบัน ประเทศไทยมีผู้ใช้โทรศัพท์มือถื อจำนวน
83 ล้านเลขหมาย โดยทั่วไป โทรศัพท์มือถือมีวงจรชีวิตสั้ นกว่า 2 ปี แบตเตอรี่มีวัฏจักรชีวิ ตของการชาร์จที่ 200 รอบ หรือ 1 ปี 4 เดือน นอกจากนั้น ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยียังส่ งผลต่อการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่เพื่ อสนองตอบความต้องการและรู ปแบบการใช้งานใหม่ๆ
รวมถึงราคาของสมาร์ทโฟนที่ต่ำ กว่า 10,000 บาท ง่ายต่อการตัดสินใจซื้อ ยอดขายสมาร์ทโฟนจึงเพิ่มขึ้นร้ อยละ
47 โดยมีจำนวนถึง 22 ล้านเครื่อง ในปี
2558 โดยผู้บริโภคอาจลืมนึกถึงการจั ดการผลิตภัณฑ์เก่าที่ไม่ต้องการ และซากของผลิตภัณฑ์ที่เสื่ อมสภาพหรือหมดอายุ”
“ดีแทคได้ดำเนินโครงการ
‘Think Smart’ มาอย่างต่อเนื่องกว่า 10 ปี เพื่อแสดงความรับผิดชอบในฐานะที่ ดำเนินธุรกิจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ อิเล็กทรอนิกส์ โดยได้ตั้งจุดรับทิ้งโทรศัพท์มื อถือ แบตเตอรี่ และอุปกรณ์เสื่อมสภาพ เช่น หูฟังหรืออะแดปเตอร์ ที่สำนักงานบริการลูกค้าของดี แทค
และองค์กรพันธมิตรต่าง ๆ จำนวน 120 แห่ง เพื่อคัดแยกขยะ จัดเก็บ และส่งให้เทส-แอมไปกำจัด หรือรีไซเคิลอย่างถูกวิธี และปลอดภัย จนถึงปัจจุบัน ปริมาณขยะที่ดีแทค รวบรวมและนำส่งไปจัดการมี จำนวนมากกว่า
1.5 ล้านชิ้น ซึ่งช่วยลดการปล่อยก๊าซคาร์ บอนไดออกไซด์ได้ถึง
18.87 ล้านกิโลกรัม พร้อมกันนั้น ยังได้จัดแคมเปญให้ความรู้แก่ลู กค้า ประชาชนทั่วไป ร่วมสร้างหัวใจที่ดูแลใส่ ใจและตระหนักเรื่องปัญหาสิ่ งแวดล้อมอย่างยั่งยืน นอกจากนี้ ดีแทคยังพร้อมสนับสนุนร่ างกฎหมายที่กำกับดูแลการจั ดการซากผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้ าและอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์เป็ นการเฉพาะ
เพื่อให้เกิดระบบการจั ดการซากผลิตภัณฑ์อย่างมีประสิ ทธิภาพ”
นางอรอุมากล่าวเพิ่มเติม
นายลุค เบอร์นาร์ดุส สโคลเตอ แวน มาสท์ กรรมการผู้จัดการ บริษัท ทีอีเอส.เอเอ็มเอ็ม (ประเทศไทย) จำกัด หรือเทส-แอม กล่าวว่า
“กลุ่มบริษัทเทส-แอม ให้บริการรีไซเคิลอุปกรณ์อิเล็