ดีแทคและศูนย์วิจัยเทเลนอร์เผยคนรุ่นใหม่ที่ใช้งานสมาร์ทโฟนของไทยเป็นผู้ใช้งานดิจิทัลมากที่สุด
ผลการสำรวจ
7
ประเทศพบไทยเป็นกลุ่มผู้ใช้ งานทันสมัยสุดทั้งโทรผ่านเน็ ตและวิดีโอเทียบทั้งเอเชียและยุ โรป
30
มิถุนายน 2559 –
ดีแทคประกาศผลศึกษาที่จัดทำขึ้ นโดยความร่วมมือกับศูนย์วิจั ยเทเลนอร์ โดยผลรายงานจาก
7 ประเทศในเอเชียและยุโรป พบว่าการใช้งานอินเทอร์เน็ ตในกลุ่มคนรุ่นใหม่ในเอเชียที่ ใช้งานบนมือถือมี ความหลากหลายและแตกต่างกันไปแม้ อยู่ในภูมิภาคเดียวกันและเมื่ อเปรียบเทียบกับกลุ่มยุโรป โดยกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่ใช้สมาร์ ทโฟนของไทยเป็นทั้งผู้ใช้งานดิ จิทัลที่ล้ำหน้าและใช้งานดิจิทั ลทางอินเทอร์เน็ตมากสุด
โดยมียอดการใช้งานอินเทอร์เน็ ตสูงสุดติดอันดับทั้งวิดี โอและการโทรผ่านอินเทอร์เน็ต
ดีแทคโดยความร่วมมือกับศูนย์วิ จัยเทเลนอร์ได้เริ่มดำเนินการศึ กษาเมื่อไตรมาสที่
4
ปี พ.ศ. 2558 ที่ผ่านมากับกลุ่มตัวอย่าง 5,600
รายในประเทศไทย มาเลเซีย ปากีสถาน เซอร์เบีย ฮังการี สวีเดน และนอร์เวย์ จากกลุ่มอายุ
16-35 ปี ซึ่งเป็นผู้ใช้งานผ่านอินเทอร์ เน็ตบนมือถือ โดยกลุ่มประชากรที่ถู กทำการสำรวจในครั้งนี้เทเลนอร์ ระบุให้เป็น
“ผู้ใช้งานดิจิทัลแถวหน้า (Digital Frontrunners)”
ซึ่งรูปแบบต่างๆ ของการใช้อินเทอร์เน็ตบนมือถื อของผู้ใช้งาน จะเป็นดรรชนีชี้วั ดในภาพรวมของแต่ละประเทศในปีหน้ า จากการศึกษาพฤติกรรมพบว่าผู้ใช้ งานสมาร์ทโฟนมีรูปแบบกิ จกรรมการใช้งานอินเทอร์เน็ ตหลากหลายในแต่ละวัน ทั้งการใช้ท่องเว็บ รับ-ส่งข้อความ
แชร์คอนเทนต์ ช้อปปิ้ง และชมวิดีโอ
นายลาร์ส นอร์ลิ่ง ประธานเจ้าหน้าที่บริหาร บริษัท โทเทิ่ล แอ็คเซ็ส คอมมูนิเคชั่น จำกัด (มหาชน) หรือดีแทค กล่าวว่า
““เพื่อตอบสนองทิศทางของผู้ใช้ บริการดิจิทัล โดยเฉพาะกลุ่มคนรุ่นใหม่ที่ใช้ งานสมาร์ทโฟนของไทยเป็นผู้ใช้ งานดิจิทัลบนอินเทอร์เน็ตมากที่ สุด
ดีแทคจึงมุ่งมั่นในการเป็นผู้ นำในการให้บริการอินเทอร์เน็ ตของประเทศ โดยการสร้างและมอบโครงข่ายที่ สมบูรณ์แบบที่สุดให้กับลูกค้าที ่รัก
การใช้บริการข้อมูล ดีแทคจะเดินหน้าสู่เป้าหมายนี้ ด้วยการรุกขยายโครงข่าย
สร้างนวัตกรรมใหม่ๆ ในการให้บริการ และการปรับเปลี่ยนการทำงานสู่รู ปแบบดิจิทัลของเรา
ผมจะมุ่งทำงานร่วมกับทีมงานผู้ บริหารดีแทคอย่างใกล้ชิดในการที ่จะสร้างให้บริษัทอยู่ในตำแหน่ งของการให้บริการดิจิทัลในระดั บแนวหน้า”
นายบียอร์น ทัลเล่ แซนด์เบิร์ก
หัวหน้าศูนย์วิจัยของเทเลนอร์ กล่าวว่า “การสำรวจในครั้งนี้มีความสำคั ญอย่างมากที่จะศึกษาจากกลุ่ม
“ดิจิทัลแถวหน้า (Digital Frontrunners)”
ซึ่งจะช่วยในการคาดการณ์เทรนด์ ของการใช้งานในอนาคตที่กำลังมา สิ่งนี้ไม่ได้มีประโยชน์เพี ยงแค่การวางแผนในการบริการดิจิ ทัลของเรา แต่ยังน่าสนใจสำหรับที่จะศึ กษาการใช้งานที่มีความคล้ายกั นของระหว่างประเทศซึ่งมี ความหลากหลายออกไปในประเทศไทย ฮังการี ปากีสถาน หรือนอร์เวย์
เช่นถ้าเราคาดว่า 2 ประเทศอาจจะมีพัฒนาการแบบเดี ยวกัน แต่บนความคล้ายกันจะมีจุดแตกต่ างของแต่ละท้องถิ่นเฉพาะออกไป”
ประเทศไทยและเอเชีย ล้ำหน้ายุโรปในการสื่อสารผ่านอิ นเทอร์เน็ต
จากการศึกษาพบว่ามี หลายประเทศจากการสำรวจ
7
ประเทศกำลังเพิ่มการก้าวสู่ การใช้งานบริการอินเทอร์เน็ตต่ างๆ สำหรับในส่วนของประเทศไทยพบว่ ามีการเติบโตการใช้งานผ่านอิ นเทอร์เน็ตเพิ่มขึ้นทั้งรู ปแบบการโทรผ่านอินเทอร์เน็ ตและวิดีโอคอลล์ตั้งแต่เดื อนเมษายน พ.ศ.
2557 ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2558 ด้วยการใช้งานเพิ่มขึ้นจาก
48% เป็น 65% และ 37%
เป็น 52% ตามลำดับ โดยมีเพียง 3% กล่าวว่ายังไม่เคยใช้งานสื่ อสารรูปแบบนี้ โดยประเทศไทยอยู่ในกลุ่มที่มี ความถี่ในการใช้งานผ่านอินเทอร์ เน็ตเพิ่มสูงสุดโดยมีจำนวน
86% ที่ใช้งานทุกวัน รองจากประเทศเซอร์เบีย 89%
จากผลสำรวจกลุ่มประเทศนอร์ดิกชี ้ว่ามีจำนวน
37%
ใช้บริการเล็กน้อยในการโทรผ่ านอินเทอร์เน็ต และในจำนวน 36% ของชาวนอร์เวย์ และสวีเดนระบุว่าไม่เคยใช้ งานการโทรรูปแบบนี้มาก่อน เปรียบเทียบกับความนิยมการใช้ งานวิดีโอคอลล์ในกลุ่มผู้ใช้ งานดิจิท้ลแถวหน้าของประเทศไทย โดยมีจำนวน
52% ที่ใช้งานทุกวัน เทียบกับชาวนอร์เวย์มีจำนวนเพี ยง
5% ใช้งานทุกวัน
ทั้งนี้ จากการเพิ่มขึ้นอย่ างหลากหลายของแอปพลิเคชั นบนสมาร์ทโฟน อาจจะคาดได้ว่าคนใช้งานรุ่นใหม่ จะมองข้ามฟังก์ชั่นการโทรซึ่ งเป็นการใช้งานหลักของมือถือที่ ถูกผลิตมา
อย่างไรก็ตามผลสำรวจแสดงให้เห็ นว่าการโทรมือถือแบบปกติยังเป็ นส่วนหนึ่งการการใช้งาน โดยจำนวน
58%
ของผู้ใช้งานแถวหน้ าในประเทศไทยยังมีการใช้ งานโทรแบบปกติหลายครั้งต่อวัน
ในขณะที่ผลสำรวจของชาวไทยยังเชื ่อว่าการใช้งานโทรศัพท์ด้วยเสี ยงยังเป็นบริการการสื่อสารที่ สำคัญที่สุดของโทรศัพท์มือถื ออยู่
ซึ่งสอดคล้องกั บผลสำรวจจากประเทศอื่นๆ ยกเว้นประเทศมาเลเซีย ที่กล่าวว่าแอปพลิเคชันส่งข้ อความเป็นบริการสื่อสารที่สำคั ญที่สุด
การส่งข้อความทางอินเทอร์เน็ตนั ้นมาแรงมาก
ทั้งคนไทย (68%)
และมาเลเซีย (71%) ที่ตอบแบบสอบถามกล่าวว่ าพวกเขาใช้แอปฯ ข้อความจำนวนหลายครั้งต่อวัน ทำสถิติแซงหน้า สวีเดน (44%)
นอร์เวย์ (53%) เซอร์เบีย (76%)
และฮังการี (60%)
ในขณะที่ผู้ที่ใช้งานเป็นส่วนน้ อย ได้แก่ ปากีสถาน ที่มีการใช้งานเพียง
29 %
แต่พวกเขากลับเป็นผู้ใช้การส่ งข้อความแบบดั้งเดิมผ่าน SMS มากที่สุด โดยคนรุ่นใหม่จำนวน
66% ยังมีการใช้งานส่ง SMS วันละหลายครั้งต่อวัน
อย่างไรก็ตาม การใช้
SMS
ก็ไม่ใช่ปัจจัยการแบ่งแยกระหว่ างตลาดเกิดใหม่ (Emerging) และตลาดเติบโต(established)ได้ เพราะผู้ใช้งานแถวหน้าในนอร์ เวย์ (56%)
และสวีเดน (48%) มีการใช้ SMS
วันละหลายครั้ง เช่นกัน แม้จะเป็นตลาดเติบโตแล้วก็ตาม (Established Markets)
ในขณะที่ผู้ใช้งานแถวหน้ าของไทยใช้
SMS
น้อยที่สุด ซึ่งจำนวน 49% บอกว่าพวกเขาอยู่ในกลุ่มใช้เดื อนละครั้ง น้อยกว่านั้น หรือไม่ได้ใช้เลย ซึ่งเป็นไปตามคาดเพราะปัจจุบั นการใช้
SMS ในเมืองไทยนั้นได้รับความนิ ยมในการใช้งานน้อยลง
สำหรับความนิยมในการสื่ อสารแบบข้อความของบุคคลบนโทรศั พท์ผ่านอินเทอร์เน็ต แอปพลิเคชันที่นิยมสูงสุ ดในประเทศไทยคือ
LINE ตามด้วย Facebook Messenger อย่างไรก็ตามความนิยมจะแตกต่ างกันไปในแต่ละประเทศที่ ทำการาสำรวจมา โดยประเทศมาเลเซียนิยม
WhatsApp, เซอร์เบียนิยม Viber และสวีเดนนิยมสื่อสารผ่านอีเมล
การใช้งานแบบใหม่ของโมบายล์อิ นเทอร์เน็ต
ประเทศไทยเป็นหนึ่งในกลุ่ มตลาดผู้นำของเอเชีย ในการรับเอาเทคโนโลยีใหม่ ของโมบายล์อินเทอร์เน็ตมาใช้งาน ผู้ใช้งานชาวไทยและมาเลเซียมี สถิติการใช้งานสูงสุดในการใช้ งานบริการแผนที่
แชร์พิกัดสถานที่ ช้อปออนไลน์ และเล่นเกม อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง
ผลสำรวจที่น่าสนใจคือ จำนวน
22%
ของคนไทยกล่าวว่าพวกเขาช้ อปออนไลน์เป็นประจำทุกวัน รวมทั้งชมทีวีและวิดิโอออนไลน์ ซึ่งมากกว่ากลุ่มอื่นที่ร่ วมในการสำรวจในครั้งนี้ โดย
91 % ของผู้ตอบแบบสอบถามกล่าวว่ าพวกเขาทำกิจกรรมที่กล่าวมาข้ างต้นอย่างน้อย
1 ครั้ง ต่อสัปดาห์
คนไทยมีการใช้บริการทางการเงิน และการโอนเงินผ่านอินเทอร์เน็ ตมากถึง
49 %
เป็นรองแค่สวีเดน 57%
“การทำตลาดในหลากหลายภูมิภาคทั้