บอกรักคนที่คุณรักในวันครอบครัว ด้วย 5 แรงบันดาลใจสู่การใช้เครื่องช่วยฟัง
เมื่อกาลเวลาคือสิ่งที่มนุษย์ ไม่อาจควบคุมได้ จึงต้องยอมรับสภาพความเป็นจริ งเกี่ยวกับช่วงวัยซึ่งข้ามผ่ านสู่การแปรเปลี่ยนในทางเสื่ อมโทรมลง โดยเฉพาะในฐานะลูกหลานผู้เฝ้ ามองบุพการีในวัยสูงขึ้น สิ่งหนึ่งต้องยอมรับคือร่ างกายค่อยๆ เสื่อมลง โดยเฉพาะทักษะการได้ยิน หลายคนคงเคยสังเกตเห็นสัญญาณบ่ งชี้ถึงสภาวะถดถอยเช่น พ่อแม่ใช้เสียงดังขึ้นขณะสนทนา คุณปู่คุณย่าให้ทวนประโยคซ้ำเนื ่องจากได้ยินไม่ชัด เร่งระดับเสียงโทรทัศน์ / เครื่องเสียงดังกว่าเดิม หรือไม่ได้ยินเสียงโทรศัพท์ จากความเปลี่ยนแปลงเหล่านี้ถึ งเวลาหรือยังที่ต้องทดแทนพระคุ ณของท่าน เรียกคืนระดับการได้ยินเฉกเช่ นวันวานกลับมาด้วยเครื่องช่วยฟั งเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
อย่างไรก็ดี การจะเข้าไปเปลี่ยนพฤติ กรรมของท่านให้ใช้เครื่องช่วยฟั งเสมือนอวัยวะที่ 33 คงไม่ใช้เรื่องง่าย หลายครั้งพบเห็นการปฏิเสธอย่ างแข็งขันเนื่องจากไม่มีความคุ้ นชิน และคิดว่าทักษะการได้ยินที่ค่ อยๆ ลดลงนั้นไม่ได้มีผลกับชีวิ ตประจำวัน ผลเสียคือยิ่งเริ่มใช้เครื่องช่ วยฟังช้าออกไปเท่าใดยิ่งเป็ นการยากสำหรับทำความคุ้นเคยกั บอุปกรณ์มากขึ้นเท่านั้น และนี่คือ 5 เคล็ดลับสำคัญแรงบันดาลใจสำหรั บผู้สูงวัยผู้กำลังประสบปั ญหาการได้ยิน ยินดีขยับเท้าก้าวแรกเริ่มต้ นใช้งานเครื่องช่วยฟัง พร้อมเข้ารับคำปรึกษาจากแพทย์ผู ้เชี่ยวชาญด้านโสตประสาทการรั บเสียงเพื่อทดสอบคุณภาพการได้ยิ น
1) อคติคือกำแพงที่ต้องทำลาย
เกะกะ เทอะทะ เสียบุคลิก หรือกรณีมีเสียงรบกวน คือคำบอกเล่าปากต่อปากจากผู้ เคยใช้งานเครื่องช่วยฟังในอดีต ทำให้ผู้สูงวัยมีทัศนคติด้านลบ ในทางตรงกันข้าม ณ ปัจจุบันด้วยการพัฒนาอย่างไม่ หยุดยั้ง นวัตกรรมแห่งการได้ยินมี ความเปลี่ยนแปลงมากมาย การออกแบบถูกคำนึงถึงสรีระสำคั ญพอๆ กับคุณภาพการใช้งาน อุปกรณ์ปัจจุบันจึงถูกซ่อนไว้ อย่างแนบเนียนบริเวณหลังใบหู และในหู รวมถึงไม่ส่งเสียงร้องรบกวนอี กต่อไป จึงไม่รู้สึกแปลกแยก หรือน่าอายเมื่อเข้าสู่สังคม
2) โยนทิ้งภาพในอดีต
เราเคยมองว่า "เพียงพูดให้เสียงดังกว่าปกติคู ่สนทนาจะได้ยินชัด และเข้าใจมากขึ้น" ทัศนคตินี้ต้องได้รับการปรั บโดยด่วน อย่ารอให้ทักษะการได้ยินของคู่ สนทนาค่อยๆ เสื่อมถอย เพราะหากปล่อยให้เกิดปั ญหาการได้ยินไม่พบแพทย์ตั้งแต่ ช่วงแรกเริ่ม ความสามารถในการรับรู้สัญญาณเสี ยงบางระดับอาจไม่ถูกต้องอีกต่ อไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งขณะอยู่ ในสภาพแวดล้อมที่เต็มไปด้วยเสี ยงรบกวน ปัจจุบัน มีการพัฒนาเทคโนโลยีเครื่องช่ วยฟัง อาทิ การพัฒนาเทคโนโลยีช่วยฟังในหูทั ้งสองข้าง (binaural hearing technology) โดยซีเมนส์ อุปกรณ์มีขีดความสามารถเชื่อมต่ อแบบไร้สาย ทำงานเชื่อมโยงกันโดยอัตโนมัติ นวัตกรรมนี้ช่วยเพิ่มประสิทธิ ภาพการได้ยินทั้งในเชิงทิศทาง และเชิงพื้นที่ เนื่องจากมีคุณภาพเสียงชัดเจน คืนการได้ยินแก่ผู้ใช้งานอีกครั ้ง
3) ระลึกไว้เสมอ ‘ความสูงวัยหาใช่อุปสรรคการได้ ยิน’
การพูดคุยอย่างออกรสชาติคือคู่ สนทนาถามมาตอบไป ไม่ใช่การขอให้ทวนประโยคซ้ ำซากจนทำให้ถูกมองว่าเป็ นคนสมองช้า หรือตะเบ็งเสียงจนเสียบุคลิก เพราะกลัวอีกฝ่ายได้ยินไม่ชั ดเจน ตามด้วยการถูกมองว่าเป็นคนสูงวั ยต้องหูตึงคุยไม่รู้เรื่อง ดังนั้นผู้ที่สวมใส่เครื่องช่ วยฟังอย่างเหมาะสมทำให้ การสนทนากลับมาดูมีชีวิตชีวาอี กครั้ง
4) เทคโนโลยีไม่ใช่สิ่งน่ากลัว
ด้วยการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เครื่องช่วยฟังในยุคปัจจุบันจึ งมาพร้อมเทคโนโลยีขั้นสูง ตัวอย่างในแบรนด์ชั้นนำ ชุดอุปกรณ์สามารถปรับลั กษณะการได้ยินตามสภาวะแวดล้ อมโดยอัตโนมัติ ระบบรับรู้แม้กระทั่งระดับเสี ยงดังที่ผู้ใช้พอใจ เยี่ยมยอดกว่านั้นคือไม่ว่าผู้ สวมใส่กำลังคุยโทรศัพท์ ระหว่างสนทนา ปรึกษาหารือกันในกลุ่ม ฟังเพลง หรือดูโทรทัศน์ เทคโนโลยีไร้สายช่วยให้แน่ใจได้ ว่าอุปกรณ์ดังกล่าวบนหูทั้ งสองข้างทำงานสอดประสานกันเป็ นระบบเดียว ช่วยลดภาระในการฟังเสียง เพิ่มประสิทธิภาพการได้ยิ นการได้ยินในเชิงพื้นที่ อีกความน่าสนใจคือปัจจุบัน เครื่องช่วยฟังมีรีโมทคอนโทรลที ่ช่วยให้สามารถควบคุ มการทำงานของเครื่องอย่างง่ ายดาย เชื่อมต่อแบบไร้สายกับโทรทัศน์ เครื่องเสียง หรือโทรศัพท์ ในกรณีนี้จึงไม่ใช่เรื่องที่ จะต้องมาพะวง หรือกลัวการเข้าถึงเทคโนโลยี เนื่องจากระบบถูกออกแบบให้ใช้ งานง่าย ทำความเข้าใจได้ในระยะเวลาอันสั ้น
5) อย่าหยุดยกระดับคุณภาพชีวิต
มีข้อมูลตีพิมพ์ ลงวารสารการแพทย์เผยแพร่ ในประเทศสหรัฐอเมริกา* ระบุว่า ‘การไม่แก้ไขความบกพร่ องทางการได้ยิน ส่งผลกระทบเชิงลบต่อสภาพจิตใจ และร่างกายของบุคคลนั้น’ ผู้ตอบแบบสำรวจส่วนใหญ่ยืนยันว่ า ความบกพร่องทางการได้ยิ นของพวกเขาเป็นข้อจำกัดในการพั ฒนาคุณภาพชีวิตอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งเครื่องช่วยฟั งสามารถตอบโจทย์พร้อมเปลี่ ยนแปลงสภาวะด้านลบดังกล่าวได้ หลังทดสอบด้วยการใช้งานจริงพบว่ าลดภาระในการฟังเสียง ทำให้การสื่อสารในชีวิตประจำวั นเป็นไปอย่างปกติ ทั้งในที่ทำงาน และขณะอยู่พร้อมหน้ากับครอบครัว
* Investigation, "The Prevalence of Hearing Impairment and Its Burden on the Quality of Life" ตีพิมพ์ใน "Quality of Life Research" กันยายน 2012