บรอมส์โกรฟเฟ้นหาเด็กเก่งระดับโลกในเวที “เวิลด์ สกอล่า คัพ” (The World Scholar's Cup)
พร้อมเดินหน้าชูโปรแกรม
EAL พัฒนาทักษะภาษาอังกฤษรับมือยุค AEC
บรอมส์โกรฟเฟ้นหาเด็กเก่
เวิลด์ สกอล่า คัพ (The World Scholar's Cup) การแข่งขันทางวิชาการชั้นนำระดั บโลกที่มีนักเรียนจากนานาประเทศ ร่วมเฟ้นความเป็นเลิศ
ทั้งทักษะการโต้วาที การเขียนเรียงความ การคิดและความรู้ในหลักสูตรที่ เรียน โดยแบ่งการแข่งขันเป็น 3 รอบ คือ ในระดับประเทศ ระดับโลก และ Tournament of Champions ที่มหาวิทยาลัยเยล ประเทศสหรัฐอเมริกา
เวิลด์ สกอล่า คัพ ปีนี้กำหนดหัวข้อของงาน คือ An Imperfect World มีนักเรียนจากประเทศต่างๆ 50 ประเทศ
จำนวน 1,500 โรงเรียน
และผู้เข้าร่วมการแข่งขัน 10,000 คน ในระดับประเทศจัดขึ้นที่โรงเรี ยนนานาชาติบรอมส์โกรฟ
เมื่อวันที่ 19-20 มีนาคม
ที่ผ่านมา ก่อนเข้าสู่การแข่งขันระดั บโลกวันที่
26-30
มิถุนายน 2559 ที่เซ็นทรัลเวิลด์ กรุงเทพฯ และรอบ Tournament of Champions วันที่ 18-21 พฤศจิกายน
2559
มิสเตอร์แมททิว ซาเวจ รองครูใหญ่ โรงเรียนนานาชาติบรอมส์โกรฟ กล่าวว่า เวิลด์ สกอล่า คัพ (The World Scholar's Cup) ถือเป็นกิจกรรมที่เสริมสร้างทั กษะความเป็นผู้นำ
การทำงานเป็นทีม และเป็นการตอกย้ ำความสามารถทางวิชาการที่เด็กๆ
ได้เรียนรู้จากโรงเรียนผ่ านระบบการเรียนการสอนที่มุ่งฝึ กฝนให้นักเรียนมีความรู้รอบด้าน
โดยเฉพาะทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ ซึ่งบรอมส์โกรฟส่งตัวแทนนักเรี ยนเข้าร่วมการแข่งขันเวิลด์ สกอล่า คัพ (The World Scholar's Cup) ต่อเนื่องเป็นปีที่สาม และมีผลงานที่ยอดเยี่ยมทุกปี
ไม่ว่าประเภททีมหรือบุคคล ทั้งเวทีประเทศ รอบระดับโลกและการผ่านเข้ารอบสุ ดท้าย Tournament of Champions
ในปีนี้ มีผู้เข้าร่วมการแข่งขันเกือบร้ อยทีม เพื่อเฟ้นหาสุดยอดของประเทศไทย ในการแข่งขันเวิร์ด
สกอล่า คัพ (The World Scholar's Cup) รอบภูมิภาคที่กรุงเทพฯ นักเรียนบรอมส์โกรฟสามารถคว้าทั ้งถ้วยรางวัล
เหรียญทองและเหรียญเงิน และยังทำคะแนนรวมสูงสุดติดอันดั บ Top 3 ในระดับจูเนียร์และซีเนียอีกด้ วย
ด้าน Yu Hao Wu
(Howard) ผู้บริหารฝ่ายการตลาด โรงเรียนนานาชาติบรอมส์โกรฟ ประเทศไทย เปิดเผยนโยบายการพัฒนาศักยภาพนั กเรียน
เมื่อเข้าสู่ประชาคมเศรษฐกิ จอาเซียน หรือ AEC ว่าโรงเรียนนานาชาติบรอมส์โกรฟ ประเทศไทย
ตระหนักถึงความสำคั ญของระบบการศึกษาในยุคที่ เยาวชนต้องมีความรู้ความสามารถ
และทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษ เพื่อใช้ในการทำงาน
ในระดับที่แข่งขันกั บนานาประเทศได้เมื่อสำเร็จการศึ กษา
“ไม่ว่าโรงเรียนนานาชาติหรื อโรงเรียนไทย
มีความกังวลว่าหลังจากเปิด AEC
แล้ว สิ่งที่เด็กได้เรียนรู้ จากโรงเรียน
เพียงพอที่จะแข่งขันกับประเทศอื ่นได้อย่างไร โดยเฉพาะทักษะด้านภาษาอังกฤษ
ซึ่งมีความจำเป็นต่อการทำงาน
เนื่องจากมีนักลงทุนต่างชาติเข้ ามาทำธุรกิจในประเทศไทยมากขึ้น”
นับตั้งแต่ปีการศึกษาที่ผ่านมา
โรงเรียนนานาชาติบรอมส์โกรฟ ประเทศไทย ได้เตรียมพร้อมรับมือในเรื่องดั งกล่าวจึงได้จัดตั้งระบบที่เรี ยกว่า
โปรแกรม EAL (English as an Additional
Language)
เสริมความแข็งแกร่งให้กับนักเรี ยนที่มีจุดอ่อนด้านภาษาอังกฤษ
“จุดเด่นของโปรแกรม EAL
จะมีคณะครูที่จัดตั้งขึ้นเป็นที มพิเศษ นอกเหนือจากครูและผู้ช่วยครู ประจำชั้น
ทำหน้าที่เข้าไปดูแลเด็กในแต่ ละชั้นเรียนที่มีปัญหาการสื่ อสารภาษาอังกฤษ
เพื่อให้เข้าใจบทเรียนได้ทันเพื ่อน ถือเป็นการลงทุนเพิ่มที่โรงเรี ยนเห็นความจำเป็น
เนื่องจากอยากให้เด็กทุกคนไม่ว่ าคนไทยหรือต่างชาติ
ได้รับการพัฒนาทักษะไปพร้อมกั นทั้งชั้นเรียน ภายใต้การศึกษาในระบบเดียวกัน”
นโยบายด้านการศึกษาดังกล่ าวดำเนินไปควบคู่กับการเก็บข้ อมูลวิเคราะห์ด้านไอคิว
อีคิว อารมณ์ พฤติกรรม เน้นการเรียนรู้ด้านปัจเจกบุคคล
ด้วยการส่งเสริมทักษะที่เด็ กสนใจและพัฒนาความสามารถของเด็ กเป็นรายบุคคล ตลอดจนการให้คำปรึกษาในการเข้ าศึกษาต่อมหาวิทยาลัยระดั บโลกตามศักยภาพของผู้เรียน
ข้อมูลเพิ่มเติม www.bromsgrove.ac.th